|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อำเภอโพทะเล ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2480 เดิมชื่อว่าอำเภอบางคลาน เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอโพทะเล เมื่อปี พ.ศ.2480 เนื่องจากที่ว่าการอำเภอบางคลาน ในขณะนั้นชำรุดทรุดโทรมมาก ทางราชการไม่มีงบประมาณเพียงพอ
ดังนั้นขุนนรสรรค์สิทธินาถ
(เพียร สิทธินาถ) นายอำเภอบางคลาน และหลวงนรัตถรักษา (ชื่น วิจิตรเนตร) ข้าหลวงประจำจังหวัดในขณะนั้นได้ประชุมร่วมกัน |
|
|
กับประชาชน และขอให้ประชาชนช่วยกันสละทรัพย์ซ่อมแซมตัวอาคาร
แต่พ่อค้าในตลาดบางคลานไม่ยินยอม มีนายประสงค์ รังสีวงษ์ พ่อค้าตลาดโพทะเลยื่นความจำนงที่จะสละทรัพย์ในการก่อสร้างที่ว่าการอำเภอโพทะเล และจะจัดหาที่ดินให้ก่อสร้างที่ว่าการอำเภอให้ อีกทั้งที่ว่าการอำเภอบางคลาน
ไม่เป็นศูนย์กลางในการปกครอง การคมนาคม จึงได้พร้อมใจกัน ย้ายที่ว่าการอำเภอบางคลานไปอยู่ที่อำเภอโพทะเล อยู่ทางทิศเหนือขึ้นไป ประมาณ 15 กิโลเมตร ซึ่งเป็นที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลโพทะเลในปัจจุบัน ต่อมาปี พ.ศ.2541
ย้ายที่ทำการไปที่ว่าการอำเภอในปัจจุบัน
ตำบลโพทะเล ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร แต่เดิมมีต้นไม้ชนิดหนึ่งเป็นไม้ล้มลุก ลักษณะของดอกเป็นสีเทาขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก เรียกว่า ต้นโพทะเล ซึ่งเป็นที่มาของชื่อบ้านโพทะเล
และเปลี่ยนชื่ออำเภอบางคลานเป็นอำเภอโพทะเลตามชื่อของหมู่บ้าน |
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลโพทะเลตั้งอยู่ เลขที่ 99 หมู่ที่ 3 ตำบลโพทะเล อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ห่างจากอำเภอโพทะเล ประมาณ 3 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลางจังหวัดพิจิตร ประมาณ 70 กิโลเมตรครอบคลุมเนื้อที่ทั้งหมด 28.82 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 15,489.15 ไร่ มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม แม่น้ำยมไหลผ่าน ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะกับการทำอาชีพเกษตรกรรม |
|
|
|
  |
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ตำบลท้ายน้ำ |
อำเภอโพทะเล |
จังหวัดพิจิตร |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลบ้านน้อย |
อำเภอโพทะเล |
จังหวัดพิจิตร |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ตำบลวัดขวาง |
อำเภอโพทะเล |
จังหวัดพิจิตร |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลทะนง |
อำเภอโพทะเล |
จังหวัดพิจิตร |
|
|
|
    |
|
|
|
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำไหลผ่าน คือ แม่น้ำยม |
|
|
|
|
|
 |
ลำดับ |
อาชีพ |
จำนวน(คน) |
ร้อยละ |
 |
|
1 |
|
ทำนา |
3,375 |
71.96 |
|
 |
2 |
|
ทำไร่ |
5 |
0.11 |
 |
|
3 |
|
ทำสวน |
23 |
0.49 |
|
 |
4 |
|
เลี้ยงสัตว์ |
11 |
0.23 |
 |
|
5 |
|
ทำประมง |
3 |
0.06 |
|
 |
6 |
|
รับจ้างทั่วไป/บริการ |
534 |
11.39 |
 |
|
7 |
|
กรรมกร |
49 |
1.04 |
|
 |
8 |
|
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว |
288 |
6.14 |
 |
|
9 |
|
อุตสาหกรรมในครัวเรือน |
14 |
0.30 |
|
 |
10 |
|
รับราชการ |
63 |
1.34 |
 |
|
11 |
|
รัฐวิสาหกิจ |
14 |
0.30 |
|
 |
12 |
|
พนังงาน/ลูกจ้างเอกชน |
216 |
4.61 |
 |
|
13 |
|
อื่นๆ เช่น พนักงานขับรถ, ลูกจ้างของรัฐ, เคยรับจ้าง ตอนนี้ดูแลผู้ป่วย, บริการตัดผม, ทนายความ, สมาชิกสภาอบต. |
95 |
2.03 |
|
 |
|
|
รวม |
4,690 |
100 |
 |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 4,706 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 2,331 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.53 |

 |
หญิง จำนวน 2,375 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.47 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,664 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 163.29 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านตาล |
372 |
332 |
704 |
206 |
|
 |
2 |
|
บ้านโพทะเล |
405 |
410 |
815 |
425 |
 |
|
3 |
|
บ้านโพทะเล |
320 |
351 |
671 |
232 |
|
 |
4 |
|
บ้านวังตายศ |
261 |
265 |
526 |
153 |
 |
|
5 |
|
บ้านคลองโคบุตร |
239 |
253 |
492 |
145 |
|
 |
6 |
|
บ้านตาล |
310 |
322 |
632 |
189 |
 |
|
7 |
|
บ้านท่าแตะ - น้ำชุ |
180 |
197 |
377 |
127 |
|
 |
8 |
|
บ้านถ้วยแก้ว |
152 |
160 |
312 |
131 |
 |
|
9 |
|
บ้านคลองปากรัง |
92 |
85 |
177 |
56 |
|
 |
|
|
รวม |
2,331 |
2,375 |
4,706 |
1,664 |
 |
|
|
  |
|
|
|
  |
|
 |
|
|
|
|
|
เว็บไซต์ในเครือข่าย อปท. จ.พิจิตร
|
|
 |
|
|
|
|